ข้อมูลโครงการสำรวจความเสี่ยงภัย

ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์

ระดับความรุนแรงแผ่นดินไหว 29,871 โรงเรียน

ระดับความรุนแรงแผ่นดินไหว จำนวนโรงเรียน
I-III (เบา: คนจะไม่รู้สึก แต่เครื่องวัดสามารถตรวจจับได้; 0-3 %g) 20,256
IV (พอประมาณ: คนที่สัญจรไปมารู้สึกได้; 3-6 %g) 2,826
V (ค่อนข้างแรง: คนที่นอนหลับตกใจตื่น; 6-12%g) 1,970
VI (แรง: ต้นไม้สั่น บ้านแกว่ง สิ่งปลูกสร้างบางชนิดพัง; 12-22 %g) 2,196
VII (แรงมาก: ฝาห้องแยก ร้าว กรุเพดานร่วง; 22-40 %g) 2,623

พื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวตามกฎกระทรวง 6,339 โรงเรียน

พื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวตามกฎกระทรวง จำนวนโรงเรียน
บริเวณเฝ้าระวัง บริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว 1,788
บริเวณที่ 1 บริเวณดินอ่อนมากที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวระยะไกล 750
บริเวณที่ 2 บริเวณที่อยู่ใกล้รอยเลื่อนที่อาจรับได้ผลกระทบจากแผ่นดินไหว 3,801

พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก 4,686 โรงเรียน

พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก จำนวนโรงเรียน
น้อย (1-4 ครั้งในรอบ 15 ปี) 4,549
ปานกลาง (5-8 ครั้งในรอบ 15 ปี) 129
สูง (มากกว่า 8 ครั้งในรอบ 15 ปี) 8

พื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ 6,339 โรงเรียน

ระดับความรุนแรงพื้นที่เสี่ยงภัยสึนามิ จำนวนโรงเรียน
เสี่ยงน้อยมาก 714
เสี่ยงน้อย 1,770
เสี่ยงปานกลาง 152
เสี่ยงสูง 247

พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม 4,146 โรงเรียน

ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม จำนวนโรงเรียน
อันดับ 1 ปริมาณน้ำฝน 100 มิลลิเมตรต่อวัน พื้นที่หน้าดินหนาขาดรากไม้ยึดเหนี่ยว และความลาดเอียงของพื้นที่มากกว่า 30 องศา 273
อันดับ 2 ปริมาณน้ำฝน 200 มิลลิเมตรต่อวัน พื้นที่หน้าดินหนาขาดรากไม้ยึดเหนี่ยว และความลาดเอียงของพื้นที่มากกว่า 30 องศา 3,492
อันดับ 3 ปริมาณน้ำฝน 300 มิลลิเมตรต่อวัน พื้นที่หน้าดินหนาขาดรากไม้ยึดเหนี่ยว และความลาดเอียงของพื้นที่มากกว่า 30 องศา 381

พื้นที่เสี่ยงน้ำป่าไหลหลากดินโคลนถล่ม 2,308 โรงเรียน

พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าไหลหลากดินโคลนถล่ม จำนวนโรงเรียน
พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำป่าไหลหลากดินโคลนถล่ม 2,308